กำหนดการทอดกฐินสามัคคี วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 วัดพระธรรมกาย
กำหนดการทอดกฐินสามัคคี วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 วัดพระธรรมกาย สามารถร่วมพิธี On-line ได้ที่ลิงก์ www.dmc.tv/2564/od/1 ID Zoom : 820 3209 3423 Passcode : 072 หรือ youtube.com/gbnuslive / Facebook.com/gbnus
ตักบาตรใส่บุญ (ตอนที่1)
ประเพณีตักบาตรอยู่คู่กับคนไทยมานาน การตักบาตรมีรายละเอียดที่ควรรู้อย่างไร
จุลลโพธิชาดก ชาดกว่าด้วยความโกรธ
ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทำประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า
ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
การสวดมนต์ให้พรของพระสงฆ์มีส่วนช่วยสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างไร
ชีวิตประกอบด้วยกายและใจ กายต้องสืบต่อด้วยอาหารอยู่ทุกวัน ใจก็สืบต่อด้วยการหล่อเลี้ยงด้วยธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกวันเช่นกัน ซึ่งพุทธบริษัท ๔ ต่างช่วยกันสืบต่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาอยู่ทุกวันด้วยข้าวปลาอาหาร
ทอดกฐินวัดพระธรรมกาย ประจำปี พ.ศ. 2559
มหากฐิน มหากาลทาน สุดยอดแห่งบุญ 1 ปี มีเพียงครั้งเดียว สุดยอดแห่งบุญ 1 ปี มีเพียงครั้งเดียว ณ วัดพระธรรมกาย วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
ทอดกฐินทุกวัดทั่วไทย สร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน
ทอดกฐินทุกวัดทั่วไทย สร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน ประจำปี พุทธศักราช 2558 วันที่ 28 ตุลาคม ถึง 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ทอดกฐินวัดพระธรรมกาย ประจำปี พ.ศ. 2558
มหากฐิน มหากาลทาน สุดยอดแห่งบุญ 1 ปี มีครั้งเดียว และในปีนี้จะมีการหล่อรูปเหมือนทองคำหลวงปู่ พระผู้ปราบมาร องค์ที่ 8 เพื่อประดิษฐาน ณ อนุสรณ์สถานแห่งสุดท้าย ห้ามพลาด ! บุญใหญ่แห่งปี วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
อาบัตินิสสัคคียปาจิตตีย์ของสงฆ์
คำถาม : พระภิกษุต้องอาบัตินิสสัคคียปาจิตตีย์แล้ว ทำอย่างไรจึงจะพ้นครับ?
ผ้ากฐินธรรมชัย ผ้าแห่งความสมปรารถนา
ผ้ากฐินที่ทุกท่านได้ร่วมบุญมา จะเป็นปัจจัยก็ดี หรือจะเป็นผ้าไตรก็ดี นำผ้ากฐินนี้มาน้อมถวายแด่คณะสงฆ์ในวันทอดกฐิน ผ้ากฐินนี้เองคือผ้าที่ยังความปรารถนาของบุคคล 2 ฝ่ายให้สำเร็จ ฝ่ายแรกก็คือ ฝ่ายคณะสงฆ์ และอีกฝ่ายคือ ฝ่ายฆราวาส แล้วผ้ากฐินทำให้พระภิกษุสงฆ์สมปรารถนาอย่างได้อย่างไร?
ทอดกฐินวัดพระธรรมกายประจำปี 2557 (กฐินธรรมชัย สร้างทุกสิ่ง)
ขอเชิญร่วมทอดกฐินวัดพระธรรมกาย "กฐินธรรมชัย" ประจำปี 2557 "การทอดกฐิน" เป็นประเพณีอันดีงามของพุทธศาสนิกชนที่พึงประพฤติปฏิบัติ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1
สาเหตุของการสังคายนาครั้งที่ 1 และผลจาการสังคายนา โดยสรุป
พระมหากัสสปเถระ (๒)
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อข้าพระองค์ถวายทานอยู่ตลอด ๗ วัน เข้าไปตั้งเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรมอันใด ด้วยกรรมอันนี้ ข้าพระองค์ไม่ปรารถนาสมบัติอย่างอื่น ไม่ได้ปรารถนาสมบัติของท้าวสักกะจอมเทพ มารสมบัติ และพรหมสมบัติ ก็กรรมของข้าพระองค์นี้ จงเป็นไปเพื่อความเป็นเลิศแห่งภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงธุดงค์คุณ ๑๓ ด้วยเถิด
ทอดกฐินวัดพระธรรมกายประจำปี 2556
มหากฐินสามัคคี ประจำปีพุทธศักราช 2556 การทอดกฐินเป็นประเพณีอันดีงามของชาวพุทธที่ศาสนิกชนปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 2,500 ปี
คำขอบวช แบบอุกาสะ
คำขอบวช แบบอุกาสะ คำวันทาสีมา และคำวันทาพระประธาน คำขอบรรพชา มูลกัมมัฏฐานคำขอสรณคมน์และศีล คำขอนิสัยคำบอกบริขารคำถามอันตรายิกธรรม ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท แบบอุกาสะ
คำขอบวช แบบเอสาหัง
คำขอบวช แบบเอสาหัง วิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง บทสวด พิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง) ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจำใช้ในพิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง)
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 3